การให้บริการตรวจรักษาผู้ป่วยผู้ใหญ่

แผนกผู้ป่วยนอก โรงพยาบาลจิตเวชนครราชสีมาราชนครินทร์ ให้บริการสุขภาพจิต ที่มุ่งเน้นการรักษา
ในระดับตติยภูมิ ยุ่งยาก ซับซ้อน รุนแรง ในผู้ป่วยที่มีอายุตั้งแต่ 15 ปีขึ้นไป ครอบคลุมในเขตสุขภาพจิตที่ 9
4 จังหวัด ได้แก่ นครราชสีมา ชัยภูมิ บุรีรัมย์ และสุรินทร์

วันเวลาให้บริการ

บริการผู้ให้บริการเวลาให้บริการ
1. บริการตรวจรักษา

 

 จิตแพทย์วันจันทร์-พฤหัสบดี
เวลา 8.30-16.30 น.

วันศุกร์  เวลา 8.30-11.30 น.

2. บริการรับยาเดิมพยาบาลวิชาชีพทุกวัน และ เวลาราชการ
3. ตรวจวินิจฉัยทางจิตวิทยานักจิตวิทยาคลินิกทุกวัน และ เวลาราชการ
4. ตรวจวินิจฉัยทางสังคมนักสังคมสงเคราะห์ทุกวัน และ เวลาราชการ
5. การบริการส่งตรวจพิเศษ    เช่น
– ตรวจทางห้องปฏิบัติการ
– ตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจ
– คลื่นไฟฟ้าสมอง
– X-RAY
นักเทคนิคการแพทย์/พยาบาลทุกวัน และ เวลาราชการ
6. การฟื้นฟูสมรรถภาพทางจิตสังคม  
6.1 คลินิกบำบัดรายโรค

 

สหวิชาชีพทุกวันราชการ

เวลา 8.30-16.30  น.

6.2 คลินิกผู้ป่วยสูงอายุ ทุกวันพฤหัสบดี

เวลา  8.30-12.00 น.

6.3 คลินิกคลินิกนิติจิตเวช ทุกวันราชการ

เวลา 13.00-16.30  น.

7. บริการให้การปรึกษาพยาบาลวิชาชีพ

นักจิตวิทยาคลินิก

นักสังคมสงเคราะห์

 

ทุกวัน และ เวลาราชการ
บริการผู้ให้บริการเวลาให้บริการ
8. บริการให้สุขภาพจิตศึกษาพยาบาลวิชาชีพทุกวัน และ เวลาราชการ
9. บริการจิตเวชฉุกเฉินจิตแพทย์

พยาบาลวิชาชีพ

ผู้ช่วยเหลือคนไข้

ทุกวัน

 

 

ขั้นตอนการปฏิบัติ

  1. ผู้รับบริการ/ผู้ป่วยมาติดต่อรับบริการที่จุดคัดกรองผู้ป่วย อาคารผู้ป่วยนอกและอำนวยการ เพื่อประเมิน
    ภาวะฉุกเฉินทางกาย ทางจิต และภาวะติดเชื้อ
  2. ผู้ป่วย ชั่งน้ำหนัก วัดสัญญาณชีพ
  3. เข้ารับบริการ
  • กรณีผู้ป่วยรายใหม่ จัดทำชุดประวัติผู้ป่วยใหม่ บริการสัมภาษณ์ประวัติ และส่งพบแพทย์
  • กรณีผู้ป่วยเก่า เข้ารับบริการตามระบบ
  • กรณีผู้ป่วยจิตเวชฉุกเฉิน เข้ารับบริการที่ห้องฉุกเฉิน

2 thoughts on “การให้บริการตรวจรักษาผู้ป่วยผู้ใหญ่

  • 17 พฤษภาคม 2020 at 23:14
    Permalink

    บุคคลในบ้านจะมีอาการเครียดในช่วงcovid จะมีอาการอ่อนแรงโดยไม่รุู้สาเหตุ และชอบพูดย้ำคิด ย้ำทำ เช่นบ้านปิดหรือยัง ถามซ้ำแล้ว ซ้ำอีก เป็นต้น มีอาการกลัว หวาดระแวง
    และบุคคลดังกล่าวได้มาบอกว่ามีจิตใต้สำนึกด้านดี และด้านไม่ดีตอบโต้กันอยู่ ทำให้ตนหวาดกลัวเพราะด้านไม่ดีคอยกระตุ้นตนเองให้ทำโน้น ทำนี่ตลอดเวลา ตัวเองต้องคอยตอบคำถามทุกครั้งที่จิตด้านไม่ดีถาม และทำให้ตนเองมีอาการเหนื่อย อ่อนแรง และที่น่าตกใจจะมีอาการหวาดกลัวเรื่องในอดีตที่ตนเองกลัว นอกจากนี้จะมีอาการจะอ้วกออกมา ปกติก็เป็นปกติไม่มีอะไร แต่ช่วงหยุดพักที่บ้านที่covidระบาด ก็จะมีอาการแปลกๆหลังจากอยู่บ้านนานประมาณ1 เดือน แต่การสื่อสารกับคนในบ้านยังเป็นปกติ

    Reply
    • 3 กรกฎาคม 2020 at 14:01
      Permalink

      1.การสื่อสาร COVID-19 เป็นการระบาดทั่วโลก
      2.ฝึกผ่อนคลาย เคลียดได้คลายได้ ผลกระทบไม่ต่ากัน
      3.ฝึกให้กำลังใจซึ่งกันและกัน ทำกิจกรรมร่วมกับสื่อสารระบายความรู้สึกซึ่งกันและกัน
      4.หากยังไม่ดีขึ้น แนะนำพบผู้เชียวชาญขอคำปรึกษาและอาจให้กินยาลดความเคลียดจะทำให้ดีขึ้น/การคุยหรือพบผู้เชียวชาญจะทำให้ รับรู้ว่า มีคนรับรู้จพทำให้ผ่อนคลายและดีขึ้นตามลำดับ

      Reply

ส่งความเห็นที่ นิพนธ์ ยกเลิกการตอบ

อีเมลของคุณจะไม่แสดงให้คนอื่นเห็น ช่องข้อมูลจำเป็นถูกทำเครื่องหมาย *

Page Reader Press Enter to Read Page Content Out Loud Press Enter to Pause or Restart Reading Page Content Out Loud Press Enter to Stop Reading Page Content Out Loud Screen Reader Support